
เงินได้สุทธิต่อปี | อัตราภาษี |
1. กลุ่มค่าลดหย่อนส่วนตัวและครอบครัว | |
ค่าลดหย่อนส่วนตัว | 60,000 บาท |
ค่าลดหย่อนคู่สมรส | 60,000 บาท |
ค่าลดหย่อนบุตร | คนละ 30,000 – 60,000 บาท |
ค่าลดหย่อนบิดา – มารดา | คนละ 30,000 บาท |
ค่าลดหย่อนผู้พิการหรือทุพพลภาพ | คนละ 60,000 บาท |
ค่าฝากครรภ์และทำคลอด | จ่ายตามจริงและไม่เกินท้องละ 60,000 บาท |
2. กลุ่มประกัน เงินออม และการลงทุน | |
ประกันสังคม | 5,850 บาท |
เบี้ยประกันชีวิตทั่วไป/เงินฝากแบบมีประกันชีวิต | ตามที่จ่ายจริงแต่รวมกันต้องไม่เกิน 100,000 บาท |
เบี้ยประกันสุขภาพตนเอง | จ่ายตามจริงแต่ไม่เกิน 25,000 บาท และเมื่อรวมกับเบี้ยประกันทั่วไปแล้วต้องไม่เกิน 100,000 บาท |
เบี้ยประกันสุภาพบิดา – มารดา | จ่ายตามจริงแต่ไม่เกิน 15,000 บาท |
เบี้ยประกันชีวิตบำนาญ | 15% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 200,000 บาท |
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ | จ่ายตามจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท |
กองทุน กบข. / สงเคราะห์ครูฯ | 15% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 50,000 บาท |
กองทุนรวมเพื่อการออม (SSF) | 30% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 200,000 บาท |
กองทุนรวมเพื่อการออมพิเศษ (SSFX) | จ่ายตามจริงแต่ไม่เกิน 200,000 บาท |
กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) | 30% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 500,000 บาท |
กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช) | 13,200 บาท |
3. กลุ่มลดหย่อนเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ | |
ดอกเบี้ยบ้าน | จ่ายตามจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท |
โครงการซื้อบ้านครั้งแรก 2559 | 120,000 บาท |
4. กลุ่มเงินบริจาค | |
เงินบริจาคพรรคการเมือง | จ่ายตามจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท |
เงินบริจาคเพื่อการศึกษา/ กีฬา/ การพัฒนาสังคม และโรงพยาบาลรัฐ | 2 เท่าของเงินบริจาคตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10% ของเงินได้หลังหักค่าลดหย่อน |
เงินบริจาคทั่วไป | ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10% ของเงินได้หลังหักค่าลดหย่อน |
5. กลุ่มค่าลดหย่อนตามมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐ | |
ช้อปดีมีคืน | จ่ายตามจริงแต่ไม่เกิน 30,000 บาท สำหรับการซื้อสินค้าระหว่างวันที่ 23 ต.ค. – 31 ธ.ค. 2563 |
ข้อควรระวัง : สำหรับโครงการช้อปดีมีคืน มีข้อกำหนดเอาไว้ค่ะว่า ผู้ที่ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ หรือ ผู้ที่ลงทะเบียน ‘คนละครึ่ง’ จะไม่สามารถใช้สิทธิ์ช้อปดีมีคืนได้นะคะ
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ส่วนอัตราภาษี มีดังนี้ค่ะ
เงินได้สุทธิต่อปี | อัตราภาษี |
0 – 150,000 | *ได้รับการยกเว้นภาษี* |
150,001 – 300,000 | 5% |
300,001 – 500,000 | 10% |
500,001 – 750,000 | 15% |
750,001 – 1,000,000 | 20% |
1,000,001 – 2,000,000 | 25% |
2,000,001 – 5,000,000 | 30% |
5,000,001 บาทขึ้นไป | 35% |
ตัวอย่างเช่น
นางสาว M ขายของออนไลน์มีรายได้ 1,000,000 บาท
คิดภาษีด้วยการหักค่าใช้จ่ายตามอัตราคือ 60% เท่ากับค่าใช้จ่าย 600,000 บาท
มีค่าลดหย่อนส่วนตัวเพียงอย่างเดียว 60,000 บาท
รายได้สุทธิของนางสาว M = 1,000,000 – 600,000 – 60,000 = 340,000 บาท
เงินได้สุทธิต่อปี | รายได้นางสาว A | อัตราภาษี | ภาษีที่ต้องจ่าย |
0 – 150,000 | 150,000 | *ได้รับการยกเว้นภาษี* | 0 |
150,001 – 300,000 | 150,000 | 5% | 7,500 |
300,001 – 500,000 | 40,000 | 10% | 4,000 |
500,001 – 750,000 | 15% | ||
750,001 – 1,000,000 | 20% | ||
1,000,001 – 2,000,000 | 25% | ||
2,000,001 – 5,000,000 | 30% | ||
5,000,001 บาทขึ้นไป | 35% | ||
รวม | 340,000 | 11,500 |
และนี่ก็คือการคำนวณภาษี และ ภาษีที่ต้องเสีย สำหรับพ่อค้าแม่ค้าออนไลน์ที่ไม่ได้จดทะเบียนห้างหุ้นส่วน หรือ บริษัทไว้
รับจดทะเบียนบริษัท , รับทำบัญชี , รับขอใบอนุญาต , รับยื่นภาษี , จดทะเบียนบริษัท ราคาประหยัด , จดทะเบียนบริษัท ทั่วไทย , รับจดทะเบียนบริษัท,รับทำบัญชี,รับจดทะเบียนบริษัท ราคาถูก,รับจดทะเบียนบริษัท ทั่วไทย,รับจดทะเบียน ออนไลน์,รับจดทะเบียนบริษัท ต่างชาติ,รับจดทะเบียนบริษัท ด่วน,รับจดทะเบียนบริษัท ร้านค้า,รับจดทะเบียนบริษัท คนเดียว , รับจดทะเบียนบริษัท ที่ไหน , รับจดทะเบียนบริษัท ช่วงโควิด-19 , รับจดทะเบียนบริษัท ท่องเที่ยว , รับจดทะเบียนบริษัท ก่อสร้าง , จดทะเบียนบริษัท ที่ไหนดี , จดทะเบียนบริษัท ทำอย่างไร