จดทะเบียนบริษัทที่ไหนได้บ้าง ?

Posted on Leave a comment

? จดทะเบียนบริษัทที่ไหนได้บ้าง ?   พร้อมแล้ว! ที่จะเป็นผู้ประกอบการมือใหม่ แต่ยังไม่รู้ว่าจะต้อง จดทะเบียนบริษัทที่ไหนก็จะยังเป็นผู้ประกอบการที่พร้อมเติบโตไม่ได้ !! ก่อนที่จะเดินทางไปสู่ความสำเร็จลองหันมามองที่จุดเริ่มต้นสักนิด เพื่อที่จะไม่เสียเวลาในการในดำเนินธุรกิจโดยการเริ่มต้นให้ถูกต้อง   จดทะเบียนบริษัทที่ไหนได้บ้างอยากมีบริษัทไม่รู้ไม่ได้ ในปัจจุบันถือว่ามีความสะดวกมาก ๆ สำหรับผู้ประกอบการหรือนักธุรกิจ ที่กำลังจะเริ่มจดทะเบียนบริษัทเพราะสามารถจดทะเบียนบริษัทที่ไหนก็ได้ ผ่านช่องทางที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์ หรือสำนักงานพาณิชย์จังหวัดหรือแม้กระทั่งจดผ่านระบบออนไลน์ ใกล้ที่ไหนไปที่นั่น กรมพัฒนาธุรกิจการค้า โดยมีทั้งหมด 6 เขต ดังต่อไปนี้ 1. สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าเขต 1(ปิ่นเกล้า) 2. สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าเขต 2(พหลโยธิน) 3. สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าเขต 3(รัชดาภิเษก) 4. สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าเขต 4(สุรวงศ์) 5. สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าเขต 5(ศูนย์การค้าธัญญาพาร์ค) 6. สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าเขต 6(ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา) แม้ว่าจะไม่ได้อยู่ในกรุงเทพมหานครก็ยังสามารถไปจดทะเบียนบริษัทได้ที่ สำนักงานพาณิชย์จังหวัด ได้ในทุก ๆ จังหวัดและไม่จำเป็นที่จะต้องจดในจังหวัดที่ตั้งของสำนักงานแต่อย่างใด เช่นสำนักงานอยู่ที่ เชียงใหม่ แต่เมื่อมาทำงานนอกสถานที่หรือมีความจำเป็นที่จะจดในต่างจังหวัดก็สามารถทำได้เช่นเดียวกัน ไม่มีข้อจำกัดใด ๆ […]

การประชุมสามัญ และการประชุมวิสามัญคืออะไร

Posted on Leave a comment

การประชุมสามัญ และการประชุมวิสามัญคืออะไร การประชุมสามัญและการประชุมวิสามัญ คือ การประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นนั่นเอง แต่มีความแตกต่างกันดังนี้ การประชุมสามัญ มี 2 กรณี คือ (1) การประชุมสามัญครั้งแรก เป็นการประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้น ซึ่งจะต้องจัดให้มีขึ้นภายใน 6 เดือนนับแต่วันจดทะเบียนบริษัท (2) การประชุมสามัญครั้งต่อๆไป เป็นการประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นหลังจากที่ได้มีการประชุมสามัญครั้งแรกไปแล้ว โดยกำหนดให้มีการประชุมอย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกระยะเวลา 12 เดือน การประชุมวิสามัญ เป็นการประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นครั้งอื่นๆ นอกจากที่เป็นการประชุมสามัญ โดยปกติการประชุมวิสามัญก็เพราะมีเรื่องจำเป็นและเป็นเรื่องที่ กม. หรือข้อบังคับกำหนดให้ต้องนำเสนอที่ประชุมใหญ่พิจารณา การประชุมวิสามัญ เป็นการประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นครั้งอื่นๆ นอกจากที่เป็นการประชุมสามัญ โดยปกติการประชุมวิสามัญก็เพราะมีเรื่องจำเป็นและเป็นเรื่องที่ กม. หรือข้อบังคับกำหนดให้ต้องนำเสนอที่ประชุมใหญ่พิจารณา ———————————————————————– #ยินดีให้คำปรึกษา “จบทุกปัญหาเพียงแค่ปรึกษาเรา” สะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน ประหยัด มั่นใจในองค์กรของเรา…. #รับจดทะเบียนบริษัท #chonlateetexbiz #ชลธีบิสซิเนสกรุ๊ป #ให้มากกว่าที่คิด #Onestopservice #Teamwork #จดทะเบียนธุรกิจและนิติบุคคล #วางระบบและจัดทำบัญชี #งานบริการขอใบอนุญาต #บริการจัดทำภาษีทุกประเภท #บริการทั้งในกรุงเทพฯและต่างจังหวัด […]

การลดหย่อนภาษี คืออะไร❓คำนวณรายได้ยังไง ❓

Posted on Leave a comment

การลดหย่อนภาษี คืออะไร❓คำนวณรายได้ยังไง ❓ ? สำหรับร้านค้าออนไลน์ที่ไม่ได้จดทะเบียนห้างหุ้นส่วน หรือ บริษัท ? การลดหย่อนภาษี คือ รายการค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่สรรพากรประกาศให้นำมาหักลบกับรายได้ เพื่อให้เราคำนวณ รายได้สุทธิ ออกมา และนำไปเปรียบเทียบคิดภาษีกับตารางอัตราภาษี หรือที่เรียกว่า การคำนวณภาษีแบบขั้นบันใด ?มีค่าใช้จ่ายอะไรที่สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้บ้างมาดูกันค่ะ 1. กลุ่มค่าลดหย่อนส่วนตัวและครอบครัว 2. กลุ่มประกัน เงินออม และการลงทุน 3. กลุ่มลดหย่อนเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ 4. กลุ่มเงินบริจาค 5. กลุ่มค่าลดหย่อนตามมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐ เงินได้สุทธิต่อปี อัตราภาษี 1. กลุ่มค่าลดหย่อนส่วนตัวและครอบครัว ค่าลดหย่อนส่วนตัว 60,000 บาท ค่าลดหย่อนคู่สมรส 60,000 บาท ค่าลดหย่อนบุตร คนละ 30,000 – 60,000 บาท ค่าลดหย่อนบิดา – มารดา คนละ 30,000 บาท ค่าลดหย่อนผู้พิการหรือทุพพลภาพ คนละ […]

จดจัดตั้งทะเบียนบริษัท ฉบับเข้าใจง่าย

Posted on Leave a comment

ปัจจุบันนี้หลายคนหันมาเริ่มทำธุรกิจของตัวเอง ซึ่งธุรกิจนั้นอาจเป็นธุรกิจเล็กๆ ในครอบครัว หรือ แม้แต่ธุรกิจที่ขยายจนกลายมาเป็นบริษัท แต่เมื่อเปิดบริษัทของตัวเองแล้ว “การจดจัดตั้งบริษัท” ก็เป็นสิ่งสำคัญที่เลี่ยงไม่ได้    7 ขั้นตอน จดทะเบียนบริษัท ฉบับเข้าใจง่าย เพื่อให้เข้าใจขั้นตอนและกระบวนการในการจดทะเบียนบริษัท 1. ตั้งชื่อบริษัทที่ต้องการใช้ในการจดทะเบียน ก่อนจะทำการจดทะเบียนบริษัท ต้องมีชื่อบริษัทขึ้นมาก่อนโดยชื่อเหล่านี้ต้องไม่ซ้ำหรือคล้ายกับบริษัทอื่นๆ ที่จดทะเบียนไปแล้ว โดยการคิดชื่อเพื่อใช้ในการจดทะเบียนนั้นเราสามารถยื่นจองได้สูงสุดถึง 3 ชื่อ และจะได้รับการพิจารณาจากชื่อแรก หากชื่อแรกซ้ำหรือไม่ผ่านเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง นายทะเบียนก็จะพิจารณาชื่อในลำดับถัดไปแทน        ส่วนการยื่นจองชื่อเพื่อจดทะเบียนบริษัท สามารถทำได้ 2 แบบ คือ ยื่นด้วยตนเองต่อนายทะเบียน ที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้าในเขตที่เราอาศัยอยู่ หรือหากเราอยู่ต่างจังหวัด ก็สามารถยื่นได้ที่สำนักงานพาณิชย์ประจำจังหวัด จองผ่านอินเตอร์เน็ต โดยกรอกข้อมูลที่เว็บไซต์ www.dbd.go.th 2. จดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิและยื่นต่อนายทะเบียน หนังสือบริคณห์สนธิ คือ หนังสือที่มีขึ้นเพื่อใช้สำหรับแสดงความต้องการในการจัดตั้งบริษัท ต้องมีการระบุที่อยู่ วัตถุประสงค์ จำนวนหุ้น และข้อมูลของผู้ก่อตั้งอย่างน้อย 3 คน รวมถึงขึ้นต้นว่าบริษัทและลงท้ายด้วยคำว่าจำกัด ซึ่งในการยื่นหนังสือหนังสือบริคณห์สนธินั้น ต้องยื่นภายใน 30 […]

8 เทคนิคตั้งชื่อบริษัทให้เฮงและปังง

Posted on Leave a comment

8 เทคนิคตั้งชื่อบริษัทให้เฮงและปังง “ยุคสมัยนี้ไม่ว่าจะอยากจะเริ่มทำอะไรก็ต้องมาคู่กับคำว่า ‘เฮง’ ‘ปัง’ ใช่ไหมล้าาาา มีใครที่ไหนไม่อยากจะไม่เฮงไม่ปังกันบ้าง จะเริ่มทำธุรกิจทั้งทีมีแค่ความรู้ ความสามารถ ก็คงอาจจะยังไม่พอ คงจะต้องพกความมูเตลูไปด้วยในการประกอบการตัดสินใจ มาขนาดนี้แล้วใครที่กำลังคิดจะเริ่มธุรกิจใหม่ มีแพลนจะจัดตั้งบริษัทใหม่ เชิญทางนี้เลยยยยยยยยย” จะเริ่มธุรกิจใหม่สิ่งแรกๆที่ต้องกังวลเลยคือ “การตั้งชื่อบริษัท” ทำยังไงดีให้คนจำได้ง่าย ทำยังไงดีให้คนรู้จักแถมต้องบวกกับการแอบยกมือไหว้ขอความเฮงปังกันซะหน่อย โดยสิ่งที่อยากจะมานำเสนอในวันนี้คือ 8 เทคนิคตั้งชื่อบริษัทให้เฮงและปัง 1.ชื่อมงคลของกิจการ การที่เราเลือกชื่อมงคลให้เข้ากับกิจการของเรา อาจจะช่วยเสริมดวงชะตาและความเป็นสิริมงคลให้แก่ธุรกิจของเรา 2.สะกดง่าย ออกเสียงง่าย การตั้งชื่อบริษัทให้สะกดง่าย อ่านออกเสียงง่ายไม่ใช่เพียงเพื่อทำให้สะดวกในการนึกถึงอย่างเดียว ยิ่งเราตั้งให้สะกดง่าย ออกเสียงง่าย จะส่งผลให้ถูกค้นหาและพูดถึงในยามที่เป็นกระแส เข้าถึงลูกค้าโดยเนื้อหาชื่อนั้น ส่งต่อกันง่ายอีกด้วย 3.ความหมายต้องดี ต้องโดน การตั้งชื่อบริษัทโดยมีความหมายดี ความหมายโดนๆแอบแฝง ทำให้อาจกลายเป็นจุดสนใจและเป็นที่พูดถึง นอกเหนือจากการนำเสนอธุรกิจไปอย่างเดียว อาจจะมีลูกค้าที่พูดถึงในเชิงอื่นเพื่อทำให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น 4.ไม่ใช้ชื่อที่ลากยาว เน้นเข้าใจง่าย การตั้งชื่อบริษัทโดยไม่ใช้ชื่อที่ยาวจนเกินไป ทำให้การสื่อสารในทิศทางของร้านที่จะนำเสนอออกไปนั้น ดีกว่าการตั้งชื่อที่ยาว รวมถึงการโฆษณา ทำป้ายอีกด้วย 5.ชื่อที่สะดุดตา เข้ากับคอนเซ็ปต์ร้าน เมื่อไหร่ที่บริษัทสะดุดตา นั้นอาจจะเป็นที่แรกที่ลูกค้าเข้าถึงก่อนที่ลูกค้าจะรับรู้ด้วยซ้ำ ว่าคุณทำธุรกิจอะไร ขายอะไร ทำให้เป็นจุดสนใจในการทำธุรกิจ 6.ชื่อไม่ซ้ำใครในบริเวณใกล้เคียง […]